Author: สฤณี อาชวานันทกุล

เมื่อบริการทางการเงิน “เรียบง่าย” และ “เป็นมิตร” : บัญชีออมทรัพย์ Simple

/

ผู้ก่อตั้ง Simple เล็งเห็นว่า ผู้บริโภคทางการเงินโดยเฉพาะคนรุ่นมิลเลนเนียล มีความคุ้นเคยกับการทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถืออย่างต่อเนื่อง และได้บริการทางการเงินที่ “เข้าใจง่าย” และ “เป็นมิตร” ในยุคที่ผลิตภัณฑ์ทางการเงินซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ และผู้บริโภคต้องปวดหัวกับ “การจัดการเงิน” ของตัวเองมากขึ้น จากแรงกดดันต่างๆ ในชีวิตยุคที่ทุกคนต้องพึ่งตนเอง

รัฐและธนาคารคุ้มครอง “ความเป็นส่วนตัว” ของเราดีแค่ไหน ในยุครุ่งอรุณของฟินเทค?

/

วันนี้เราได้ยินคำที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีในการให้บริการทางการเงิน ไม่ว่า “ฟินเทค” “พร้อมเพย์” “บิ๊กดาต้า” และล่าสุดก็ “คิวอาร์โค้ด” หนาหูขึ้นเรื่อยๆ ส่วนหนึ่งเพราะธนาคารไทยแทบทุกแห่งกำลังตื่นตัวตื่นเต้นในการต้อนรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อยกระดับการให้บริการลูกค้า ซึ่งก็นับว่าเป็นข่าวดีสำหรับผู้บริโภคทางการเงิน แต่ยิ่งสถาบันการเงินเก็บข้อมูลเรามากขึ้นในศตวรรษที่ 21 ยุคซึ่งเทคโนโลยีอยู่รายรอบตัวเราทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น การคุ้มครอง “ความเป็นส่วนตัว” ยิ่งทวีความสำคัญและท้าทายขึ้นเรื่อยๆ

รายงาน “การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง”

/

การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology and Its Potential for Inclusive Economy)
โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ

งานวิจัย “การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง”

/

สรุปรายงานวิจัย เรื่อง การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology
and Its Potential for Inclusive Economy) โดย สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จำกัด, สิงหาคม 2560 | รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การจัดทำและเผยแพร่ชุดงานวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนา “การธนาคารที่ยั่งยืน”” สนับสนุนโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา

วรรณกรรมปริทัศน์ “แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน”

/

วรรณกรรมปริทัศน์ “แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “รางวัลองค์กรที่น่าทำงานด้วยที่สุดภายใต้แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

“หนี้ที่เป็นธรรม” กับความรับผิดชอบของเจ้าหนี้

/

คงไม่มีใครอยากเป็นหนี้ ไม่ว่าจะกู้เงินไม่กี่พันบาทจากเพื่อน บากหน้าไปยืมญาติ หรือบากบั่นดั้นด้นไปกรอกแบบฟอร์มกองโตเพื่อกู้เงินซื้อบ้านก็ตาม เมื่อเราเป็นหนี้ เราย่อมตกอยู่ในสถานะของ “ลูกหนี้” และในเมื่อเรารู้สึกว่าการผ่อนชำระหนี้ให้ตรงเวลาคือ “หน้าที่” เราก็มักจะก้มหน้าก้มตาพยายามผ่อนชำระให้ครบจำนวนและตรงเวลา โดยไม่แม้แต่จะนึกถึง “ความเป็นธรรม” ของหนี้

กลไกตลาด vs. กลไกรัฐกับภาคธนาคาร: กรณีรื้อกฎหมาย Dodd-Frank

/

หนึ่งในนโยบายของทรัมป์ คือคำประกาศกร้าวของทรัมพ์เมื่อยามเดินสายหาเสียงว่า “ผมจะรื้อกฎหมาย Dodd-Frank!” จะส่งผลสะเทือนกว้างไกลต่อภาคธนาคารทั้งในและนอกอเมริกา รวมถึงกำลังจุดประกายวิวาทะรอบใหม่ที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่าด้วย “เส้นแบ่ง” ระหว่างบทบาทของกลไกตลาด กับบทบาทของกลไกรัฐ ว่าควรขีดกันตรงไหนอย่างไรสำหรับธุรกิจสถาบันการเงิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคม

“เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” กับการระบุประเด็น(ที่ควรจะ)เร่งด่วนสำหรับไทย

/

แต่ละประเทศย่อมมีความเป็นอิสระในการกำหนดนโยบาย มาตรการ และรายละเอียดวิธีปฏิบัติตามกรอบ SDGs 17 ข้อ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทในท้องถิ่นของตัวเอง แต่สุดท้าย การเลือกว่าเป้าประสงค์ใดควรเป็น “เป้าประสงค์เร่งด่วน” ในการพัฒนาประเทศ ก็ควรจะสอดคล้องกับระดับ “ความรุนแรงเร่งด่วน” ของประเด็นต่างๆ อย่างแท้จริง

การแถลงข่าว ภายหลังศาลปกครองสูงสุดไม่รับฟ้องเพิกถอนคำสั่งหัวหน้า คสช. 4/2559 ที่มาภาพ: http://enlawfoundation.org/newweb/?p=3027

มาตรา 44 กับ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”

/

กฎหมายผังเมืองนับเป็นเครื่องมือที่ขาดไม่ได้สำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ช่วยประสานประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์เอกชน และประโยชน์ชุมชนเข้าด้วยกัน ในการหาฉันทามติเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ แต่คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 4/2559 กลับอ้างเหตุผลที่ฟังไม่ขึ้นว่า จำเป็นต้องออกคำสั่งยกเว้นการใช้ผังเมืองรวม เพราะผังเมืองรวมเป็น “ข้อขัดข้องหรืออุปสรรค” ในการแก้ปัญหาความมั่นคงในการจัดหาพลังงานและปัญหาขยะมูลฝอย และ “พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ [ให้]พร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

ผลิตภัณฑ์ทางการเงินดีๆ ก็ช่วย “ลดหนี้” ได้ : Debt Pay Down Solution & YNAB

/

ผู้ให้บริการทางการเงินอาจทำกำไรได้ง่ายๆ โดยไม่สนใจที่จะช่วยลูกค้าลดหนี้ หรือหาวิธีเสริมสร้างความรู้ทางการเงินที่ยั่งยืน (ไม่ใช่การจัดสอนทีละหลายสิบหรือร้อยคน) แต่ผู้ให้บริการที่ก้าวไปถึงขั้นนี้ได้ ดังตัวอย่าง Debt Pay Down Solution ของ Wells Fargo และบริการ YNAB ก็สมควรจะได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้ให้บริการที่ ‘เข้าใจ’ หัวอกของลูกค้า และช่วย ‘พัฒนา’ วงการการเงินให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน

หน้าที่ 5 จาก 6« First...23456