
Blog


Rags2Riches อีกหนึ่งบทพิสูจน์ความเป็นไปได้ของธุรกิจเพื่อสังคม (2)
จากบทความตอนที่แล้วที่พูดถึงที่มาที่ไป ผลลัพธ์ทางสังคมและรางวัลมากมายของ Rags2Riches (RIIR) ธุรกิจเพื่อสังคมแบบแสวงหากำไร (for-profit social enterprise) จากประเทศฟิลิปปินส์ ในตอนนี้เราจะลองดูว่่าปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้ RIIR ประสบความสำเร็จคืออะไร

ทริปหัวใจแบ่งปัน…เพาะรักษ์เกาะตาชัย แล้วไปทำโป่งดินให้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองนาคา
ผู้เขียนมีโอกาสได้ไปร่วมกิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัครโรงบ่มอารมณ์สุข “การเดินทางที่แสนพิเศษหัวใจแบ่งปัน ปล่อยเกาะเพาะรักเกาะตาชัย เช้าทำฝายบ่ายทำโป่งที่คลองนาคา” จึงอยากแบ่งปันประสบการณ์และความรู้ดีๆ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและความยั่งยืน ที่ได้จากการทำกิจกรรมในครั้งนี้

นโยบายเชิงรุก เคล็ดลับความสำเร็จห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืนของ Starbucks และ GAR
จากกรณีศึกษาของ Starbucks ผู้นำตลาดกาแฟโลก และ GAR บริษัทน้ำมันปาล์มอันดับสองของโลก พบว่า การจะสร้างห่วงโซ่อุปทานแบบยั่งยืนให้เป็นจริงได้ ผู้ทำอาจจะต้องเปลี่ยนจากนโยบายเชิงรับมาเป็นนโยบายเชิงรุก

พัฒนาการของ “กีฬาเพื่อความยั่งยืน”
เราคงพอนึกภาพออกว่าการแข่งขันกีฬาทั้งรายการใหญ่ อย่างโอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือการแข่งขันกีฬาระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ส่งผลกระทบทั้งทางบวกและลบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างไร แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่าการจัดแข่งขันกีฬาเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย โดยบางคนอาจจะนึกไม่ออกเลยด้วยซ้ำว่าสองเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันได้อย่างไร

Rags2Riches อีกหนึ่งบทพิสูจน์ความเป็นไปได้ของธุรกิจเพื่อสังคม (1)
หลายคนอาจจะยังสับสนว่าธุรกิจเพื่อสังคมคืออะไรกันแน่ หรือคนที่รู้จักแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคมแล้วก็อาจจะสงสัยว่าธุรกิจที่แก้ไขปัญหาด้านสังคมหรือสิ่งแวดล้อม และสามารถสร้างรายได้หรือผลกำไรอย่างยั่งยืนจะเป็นไปได้จริงหรือ จึงอยากแนะนำให้รู้จัก Rags2Riches (RIIR) ธุรกิจเพื่อสังคมแบบแสวงหากำไร (for-profit social enterprise) ที่มุ่งมั่นแก้ไขปัญหาความยากจนของกลุ่มแม่บ้านในชุมชนแออัดจากฟิลิปปินส์

ประเด็นท้าทายการจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอนาคต (1) : โลกร้อน กับ “Loss and Damage”

ถอดบทเรียนธุรกิจเพื่อสังคมในอินเดีย – โอกาสจากวิกฤตและความเปิดกว้าง (2)
เปิดโลกงาน Sankalp Unconventional Summit งานสัมมนาด้านการลงทุนเพื่อสังคม (Impact Investing) ที่ใหญ่ที่สุดของอินเดียและของเอเชีย

ถอดบทเรียนธุรกิจเพื่อสังคมในอินเดีย – โอกาสจากวิกฤตและความเปิดกว้าง (1)
อินเดีย บ้านของประชากรกว่า 1.2 พันล้านคน ประเทศที่มีปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมมากมาย เช่น ปัญหาความยากจนติดอันดับโลก การขาดแคลนน้ำสะอาด ปัญหาสุขภาวะและอื่นๆ กลับกลายเป็นขุมทองของผู้ที่อยากสร้างธุรกิจเพื่อสังคมและนักลงทุนทางสังคม เพราะมี “โอกาส” ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงอยู่มากมาย

ได้เวลาเลิกทำซีเอสอาร์
ท่ามกลางความเดือดร้อนของชาวระยองและระบบนิเวศใต้ทะเล กรณีน้ำมันรั่ว(แค่)ห้าหมื่นกว่าลิตรของ ปตท. โกลบอล เคมิคอล (พีทีทีจีซี) บริษัทเคมีภัณฑ์ยักษ์ใหญ่ในเครือ ปตท. เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา ก็นับว่ามี “โชคดีในโชคร้าย” อยู่บ้าง ตรงที่ทำให้สังคมไทยลุกขึ้นมาตั้งคำถามกับการแสดง “ความรับผิดชอบต่อสังคม” หรือที่เรียกกันติดปากว่า “ซีเอสอาร์” (ย่อมาจาก corporate social responsibility) ของ ปตท.