Blog

ประเทศไทย ทำไมจึงจำเป็นต้องมีโรงงานปลาป่น

/

อุตสาหกรรมปลาป่นเป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากภาคประมง เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมสำคัญในห่วงโซ่อุปทานอาหารสัตว์ โดยเฉพาะอาหารกุ้ง ที่มีปลาป่นเป็นส่วนประกอบสำคัญ และเป็นอุตสาหกรรมที่หลายคนมองว่ามีส่วนในการทำลายสัตว์น้ำวัยอ่อนในทะเลไทย แต่กระนั้นก็ตามโรงงานปลาป่นยังเป็นสิ่งจำเป็นต่อประเทศไทยอย่างมาก ไม่เฉพาะต่ออุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์เท่านั้น บทความนี้จะมาอธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจว่าทำไมประเทศไทยจึงจำเป็นต้องมีโรงงานปลาป่น

เศรษฐกิจหมุนเวียน – โอกาสใหม่ของธุรกิจเพื่อความยั่งยืน

/

ในกระบวนการผลิตสินค้าที่ “ถลุง” ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่จำกัดเพื่อใช้ประเดี๋ยวประด๋าวก่อนจะ “ทิ้ง” ไปเป็นขยะจำนวนมหาศาล ทำลายระบบนิเวศต่างๆ จนเข้าขั้นวิกฤติ ภาคธุรกิจเริ่มมีการพูดถึงเศรษฐกิจหมุนเวียนหรือ Circular Economy ว่าเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวและสร้างประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ทรัพยากร

ความขม(ขื่น)ที่แอบแฝง อุตสาหกรรมช็อกโกแลตกับผืนป่าที่หายไป (2)

/

ในบทความก่อนหน้า ผู้เขียนได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับอุตสาหกรรมช็อกโกแลตและผลกระทบของการทำไร่โกโก้อย่างไม่ยั่งยืนว่าส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของเกษตรกรรายย่อยอย่างไร สำหรับบทความชิ้นนี้จะชวนคุยเพิ่มเติมว่าประเด็นปัญหาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับบริษัทผู้ผลิตช็อกโกแลตอย่างไร เพราะเหตุใดบริษัทจึงควรใส่ใจ และตอนนี้ทั่วโลกมีแนวทางรับมือกับปัญหาดังกล่าวอย่างไรบ้าง

Specialty Bus

ส่องโลกการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม – ตอนที่ 2 HCT Group

/

ตอนที่ 2 ของซีรีย์ ‘ส่องโลกการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม’ จะพาไปรู้จักการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมของ HCT Group กิจการเพื่อสังคมด้านขนส่งจากสหราชอาณาจักรที่เน้นสร้างโอกาสในการเดินทางของกลุ่มเปราะบางในสังคม เช่น คนพิการ คนชรา ที่มีการรายงานผลอย่างสม่ำเสมอ

ความขม(ขื่น)ที่แอบแฝง อุตสาหกรรมช็อกโกแลตกับผืนป่าที่หายไป (1)

/

ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ช็อกโกแลตนับเป็นสัญลักษณ์ของความหรูหราที่คนทั่วไปสามารถซื้อบริโภคได้ในราคาย่อมเยา และเป็นขนมยอดนิยมอันดับต้นๆ มานานนับศตวรรษ ทว่าขณะที่คนจำนวนมากมีความสุขกับการลิ้มชิมรสหวานปนขมของช็อกโกแลต อีกฟากหนึ่งของโลกในทวีปแอฟริกาตะวันตก ช็อกโกแลตกลับกลายเป็นของแพงเกินเอื้อม และเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ผืนป่าซึ่งครั้งหนึ่งเคยอุดมสมบูรณ์หายไป

สู่ “Regulation 4.0” ? วิถีกำกับตลาดเงินตลาดทุนยุคดิจิทัล

/

เมื่อเช้าวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา ผู้เขียนมีโอกาสได้ไปฟังการแถลงแผนยุทธศาสตร์ 3 ปี (2561-2563) ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ในงาน SEC Conference ภายใต้สโลแกน “Capital Markets For All” หรือ “ตลาดทุนเพื่อทุกคน” ซึ่งมีผู้แทนจากโบรกเกอร์ บริษัทจดทะเบียน บริษัทจัดการลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ เข้าร่วมฟังอย่างคับคั่งกว่า 400 คน

หายไปสองปี ป.ปลาสบายดีไหม – ย้อนดูความยั่งยืนในอุตสาหกรรมปลาป่นไทยในรอบสามปี (2)

/

บทความในชุด ป.ปลาหายไปไหน ที่จะมาอัพเดทสถานการณ์ของอุตสาหกรรมปลาป่นในปัจจุบัน ว่ามีเหตุการณ์ที่สำคัญและน่าสนใจอะไรบ้างในช่วงระยะสอง-สามปีที่ผ่านมา ซึ่งชิ้นนี้เป็นตอนต่อจากบทความชิ้นที่แล้ว จะมาเล่าว่าเกิดอะไรขึ้นหลังจากที่ไทยได้ใบเหลืองจากอียู และตกมาอยู่ Tier 3 รวมถึงเรื่องการหยุดซื้อปลาป่นที่ไม่ได้มาตรฐาน IFFO RS ของบริษัทซีพีเอฟ

Kuapa Kokoo

ส่องโลกการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม – ตอนที่ 1 Divine Chocolate

/

กิจการเพื่อสังคมที่ดีจะไม่ได้แค่เล่าว่าตัวเองทำอะไร ให้ใคร แต่ต้องมีผลลัพธ์ทางสังคม (social impact) ที่ชัดเจน บทความนี้จะพาไปรู้จักการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมของ Divine Chocolate กิจการเพื่อสังคมที่รายงานผลลัพธ์ทางสังคมถึงสิ่งที่เปลี่ยนแปลงต่อเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้และการค้าแบบ Fair Trade อย่างสม่ำเสมอมาตั้งแต่ปี 2006

หายไปสองปี ป.ปลา สบายดีไหม? – ย้อนดูความยั่งยืนในอุตสาหกรรมปลาป่นไทยในรอบ 3 ปี (1)

/

บทความในชุด ป.ปลาหายไปไหน ที่จะมาอัพเดทสถานการณ์ของอุตสาหกรรมปลาป่นในปัจจุบัน ว่ามีเหตุการณ์ที่สำคัญและน่าสนใจอะไรบ้างในช่วงระยะสอง-สามปีที่ผ่านมา พร้อมทั้งบอกเล่าประสบการณ์การลงพื้นที่ทำวิจัยระดับปริญญาโทในหัวข้อ “การศึกษาปัจจัยที่ทำให้โรงงานปลาป่นในประเทศไทยรับมาตรฐาน IFFO RS” โดยบทความชิ้นนี้จะมาเล่าว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างกับอุตสาหกรรมประมงไทย แล้วมันส่งผลกระทบอย่างไรกับอุตสาหกรรมปลาป่นบ้าง ทั้งเรื่องใบเหลืองจากอียู ทั้งเรื่องที่ประเทศไทยตกมาอยู่ Tier 3

เมื่อบริการทางการเงิน “เรียบง่าย” และ “เป็นมิตร” : บัญชีออมทรัพย์ Simple

/

ผู้ก่อตั้ง Simple เล็งเห็นว่า ผู้บริโภคทางการเงินโดยเฉพาะคนรุ่นมิลเลนเนียล มีความคุ้นเคยกับการทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถืออย่างต่อเนื่อง และได้บริการทางการเงินที่ “เข้าใจง่าย” และ “เป็นมิตร” ในยุคที่ผลิตภัณฑ์ทางการเงินซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ และผู้บริโภคต้องปวดหัวกับ “การจัดการเงิน” ของตัวเองมากขึ้น จากแรงกดดันต่างๆ ในชีวิตยุคที่ทุกคนต้องพึ่งตนเอง

หน้าที่ 7 จาก 15« First...56789...Last »