
ป.ปลาหายไปไหน (2)
ปัญหาของท้องทะเลไทยเป็นที่รับรู้และเกี่ยวพันถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่สามารถรอคอยความช่วยเหลือจากภาครัฐหรือใช้กฏหมายแก้ปัญหาเพียงมิติเดียวได้
ปัญหาของท้องทะเลไทยเป็นที่รับรู้และเกี่ยวพันถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่สามารถรอคอยความช่วยเหลือจากภาครัฐหรือใช้กฏหมายแก้ปัญหาเพียงมิติเดียวได้
ก่อนขยะ(จะ)ไปไหน? ขยะจะถูกรวบรวมและจำแนกเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติและความเหมาะสม มิใช่ขยะทุกชนิดจะสามารถนำไปเป็นเชื้อเพลิงได้ ดังนั้นขยะจากภาคส่วนต่างๆ จึงต้องผ่านการคัดแยกและจุดเริ่มต้นของกระบวนการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ก็คือการแยกขยะของครัวเรือนนั่นเอง
สฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จำกัด ชวนเราท่องโลกธุรกิจแห่งคุณค่า ‘สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน’ บอกเล่าถึงสภาพปัญหาที่โลกกำลังเผชิญ แนวคิดเรื่องความยั่งยืนในฐานะทางออกของปัญหา และบทบาทของภาคธุรกิจในการสร้างความยั่งยืนและความเป็นธรรมแก่สังคม ผ่านกรณีศึกษาที่น่าสนใจทั่วโลก
ผู้เขียนมีโอกาสได้ไปร่วมกิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัครโรงบ่มอารมณ์สุข “การเดินทางที่แสนพิเศษหัวใจแบ่งปัน ปล่อยเกาะเพาะรักเกาะตาชัย เช้าทำฝายบ่ายทำโป่งที่คลองนาคา” จึงอยากแบ่งปันประสบการณ์และความรู้ดีๆ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและความยั่งยืน ที่ได้จากการทำกิจกรรมในครั้งนี้
จากกรณีศึกษาของ Starbucks ผู้นำตลาดกาแฟโลก และ GAR บริษัทน้ำมันปาล์มอันดับสองของโลก พบว่า การจะสร้างห่วงโซ่อุปทานแบบยั่งยืนให้เป็นจริงได้ ผู้ทำอาจจะต้องเปลี่ยนจากนโยบายเชิงรับมาเป็นนโยบายเชิงรุก
เราคงพอนึกภาพออกว่าการแข่งขันกีฬาทั้งรายการใหญ่ อย่างโอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือการแข่งขันกีฬาระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ส่งผลกระทบทั้งทางบวกและลบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างไร แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่าการจัดแข่งขันกีฬาเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย โดยบางคนอาจจะนึกไม่ออกเลยด้วยซ้ำว่าสองเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันได้อย่างไร
“ความยั่งยืน” คืออะไร ทำไมต้องแคร์? ทุกวันนี้อะไรๆ ก็ต้อง “ยั่งยืน” การพัฒนาอย่างยั่งยืน ธุรกิจยั่งยืน พลังงานยั่งยืน เกษตรยั่งยืน ดีไซน์ยั่งยืน ชุมชนยั่งยืน ฯลฯ แต่ “ความยั่งยืน” คืออะไรแน่ เกี่ยวกับเราอย่างไร แล้วทำไมต้อง”ยั่งยืน” ด้วย